หน่วย
|
|
เศษส่วน ทศนิยม
|
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวเศษส่วน
ทศนิยม รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วน
ทศนิยมได้
รวมทั้งแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนได้
|
จำนวนจริง
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโดยการเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมซ้ำและเขียนทศนิยมซ้ำในรูปเศษส่วน
หารากที่สองและรากที่สามของจำนวน การแยกตัวประกอบ การประมาณ
ให้เหตุผลในการระบุหรือยกตัวอย่างจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ และจำนวนอตรรกยะ
และนักเรียนสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของการยกกำลัง การหารากที่สอง และการหารากที่สามของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะได้
นำความรู้มาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
|
อัตราส่วน
สัดส่วน ร้อยละ
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน
สัดส่วน ร้อยละ สามารถเปรียบเทียบอัตราส่วน
สัดส่วน ร้อยละ
แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนรวมทั้งนำความรู้มาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์รวมทั้งประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
|
ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
1 - 2
|
โจทย์
เศษส่วนและทศนิยม
Key Question :
- นักเรียนคิดว่าเศษส่วนและทศนิ
- เราจะแปลงเศษส่วนเป็นทศนิยมได้
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เกมเกี่ยวกับจับคู่
- สมุดทดคิดของนักเรียนแต่ละคน
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่
- ใบงานเกี่ยวกับเศษส่วนและทศนิยม
|
- ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับกิ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเศษส่วนและทศนิ
และเราจะแปลงเศษส่วนเป็นทศนิ
ตัวอย่างโจทย์
1. 0.5 ,
2. , 0.22
- นักเรียนแต่ละคนร่วมกั
ครูให้นักเรียนเล่นเกม “สัมพันธ์ฉันท์เพื่อน” ซึ่งเป็นเกมเกี่ยวกับจับคู่
- ครูตั้งคำถาม 6/10 12/100 เราจะเขียนให้อยู่ในรูปทศนิ
- ครูให้นักเรียนนำเสนอพร้
- ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเกี่
- ครูตั้งคำถาม 0.5 0.96 เราจะเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่
- ครูให้นักเรียนนำเสนอพร้
- ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเกี่
- ครูให้แจกใบงานให้นักเรียน เพื่อทบทวนเกี่ยวกับ เลขทศนิยมและเศษส่วน ตัวอย่างเช่น
45.21
32.733
12
พร้อมทั้งได้ตรวจสอบกระบวนการคิ
- ครูและนักเรียนเรียนรู้ร่วมกั
|
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นและออกแบบวิ
- การสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกั
ชิ้นงาน
- ใบงานเกี่ยวกับการแปลงเศษส่วน และทศนิยม
|
ความรู้:
- การแปลงเศษส่วน ทศนิยม รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่
- วัฒนธรรมการเรียนรู้ที่
ทักษะ :
ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผลทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิ
- คารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่
อย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศั
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึ
มาตรฐาน ค 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้
มาตรฐาน ค 6.1 มี
|
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
3 - 4
|
โจทย์
การแก้โจทย์ปัญหาสถานการณ์เศษส่
Key Questions
- ถ้าพี่ต้นตะวันมีแตงโมอยู่ 4/7 ชิ้น แบ่งให้เพื่อน 1/7 ชิ้น จะเหลือแตงโมเท่าไร?
- นักเรียนสามารถออกแบบสร้างโจทย์
เครื่องมือคิด :
Show and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเตอร์เน็ต
- สมุดเล่มเล็ก
- โจทย์ปัญหา
- ใบงาน
|
- ครูให้นักเรียนดูแผ่นภาพเศษส่
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้าพี่ต้นตะวันมีแตงโมอยู่ 4/7 ชิ้น แบ่งให้เพื่อน 1/7 ชิ้น จะเหลือแตงโมเท่าไร?”
-ให้นักเรียนออกมาแสดงวิธี
- ครูใช้คำถามตรวจสอบความเข้
ให้โจทย์ข้อที่ยาก ซับซ้อนขึ้นให้นักเรียนช่วยกั
ก่อนจะเลือกวิธีการที่
- นักเรียนให้นักเรียนทำใบงานเกี่
- นักเรียนแต่ละคนตั้งโจทย์ปั
|
ภาระงาน
- การอธิบายนำเสนอต่อเพื่อนและครู
- นักเรียนสร้างออกแบบสร้างโจทย์
ชิ้นงาน
- เขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
- โจทย์การคิด(เศษส่วน)ลงในสมุด
- ใบงานเกี่ยวกั
| ความรู้: นักเรียนเข้าใจและสามารถสื่อสาร นำเสนอ และเชื่อมโยงในการบวก ลบ คูณและหารเศษส่วนได้ สามารถแก้ปัญหาให้เหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะ -ทักษะการคิดวิเคราะห์ -ทักษะการให้เหตุผล -ทักษะการแก้ปัญหา
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกัน
คุณลักษณะ :
- มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้คณิ
-คารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิ
อย่างไม่มีอคติ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศั
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้
มาตรฐาน ค 6.1 มี
|
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
5-7
|
โจทย์
จำนวนจริง
Key
Questions
- นักเรียนสังเกตเห็นตัวเลขหรือจำนวนที่ไหนบ้าง และมาได้อย่างไร
-
นักเรียนคิดว่าจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ เป็นอย่างไร
และต่างกันอย่างไรพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
-
นักเรียนคิดว่า จำนวนที่อยู่ระหว่าง
1 กับ 2
มีกี่จำนวน
เครื่องมือคิด
Brainstorms ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับที่มาของตัวเลข
การจัดหมวดหมู่ตัวเลข
Card
and chart ตัวเลข จำนวน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
กระดาษตัวเลข
- บรรยากาศในห้องเรียน
-
กระดาษการ์ด
- กระดาษ A4
|
- ครูและนักเรียนทบทวนเรื่องของจำนวน
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
-
นักเรียนแต่ละคนจัดหมวดหมู่ตัวเลขรวมกันพร้อมทั้งบอกเหตุผลประกอบ
-
นักเรียนแต่ละคนเสนอรูปแบบของจำนวน เช่น 1 ,
0.5 , 50% ,
-
นักเรียนดูโครงสร้างของจำนวน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าจำนวนตรรกยะ และอตรรกยะ เป็นอย่างไร และต่างกันอย่างไรพร้อมทั้งยกตัวอย่าง
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
-
ครูให้นักเรียนดูเส้นจำนวน แล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด
นักเรียนคิกว่าจำนวนฝั่งซ้ายและขวาเป็นตัวเลขอะไรได้บ้างและลักษณะอย่างไร
แต่ละคนแสดงความคิดเห็น
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
จำนวนและจำนวนไม่เต็มเป็นอย่างไร และเราจะเขียนบนเส้นจำนวนได้อย่างไร
-
นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นพร้อมทั้งตักอย่างประกอบ
- นักเรียนทำใบงาน
1.
นักเรียนยกตัวอย่างจำนวนตรรกยะ อตรรกยะ
2.จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ
…………..1) 0.001001001001…เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..2)
0.110110110110… เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..3)
0.7676676667666… เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..4)
0.59999…. เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..5)
0 เป็นจำนวนจริง
…………..7) …. เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..8) ….
เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..9) 2.548754652 เป็นจำนวนตรรกยะ
…………..10) 2.5 เป็นจำนวนตรรกยะ
- ครูตั้งโจทย์คำถามชวนให้คิดต่อ
นักเรียนคิดว่าจำนวนหรือตัวเลขเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับชีวิตเราอย่างไร
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับเรื่องที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ผ่าน Mind mapping
|
ภาระงาน :
- การจัดหมวดหมู่ของจำนวน
- การนำเสนอเกี่ยวกับจำนวนตรรกยะ อตรรกยะ
ชิ้นงาน :
-
Mind
mapping ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนจริง
- ใบงาน
|
- เข้าใจที่มาและความสำคัญของตัวเลข ความหลากหลายของจำนวน
อธิบายจำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ - วัฒนธรรมการเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่เรียนรู้และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะ
:
ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
การมีส่วนร่วมในการแสนอความคิดเห็น
ในวิธีคิดที่แปลกใหม่ การอภิปรายเกี่ยวกับเศษส่วน
ทักษะการแก้ปัญหา
นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหาโจทย์
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ช่วยออกแบบวิธีคิด ร่วมปรึกษาความคิดเห็นของตนเองกับเพื่อนๆ
ช่วยเหลือกันและกันในการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้เป็นประโยชน์
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง :ตัวชี้วัด ม.4-6/1
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การดำเนินการต่าง ๆ และใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ม.2/2
มาตรฐาน ค 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน : ตัวชี้วัด ม.2/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น
ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3,ม.3/4, ม.3/5, และ
ม.3/6
|
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
8
- 10
|
Key Questions
- จากข้อมูลที่นักเรียนได้
อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิงเป็นเท่าใดและเขียนอย่างไร
- ครูซื้อปากกา 4 ด้าม ราคา 28 บาท อัตราส่วนของจำนวนปากกาเป็นด้ามต่อราคาของปากกาหนึ่งด้ามเป็นเท่าไร
- นักเรียนคิดว่า เราสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์กำหนด
Brainstorms
ระดมความคิดเกี่ยวกับวิธีคิดรวมทั้งออกแบบวิธีคิดร่วมกัน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- กระดาษ
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- สมุดเล่มเล็ก
- โจทย์ปัญหา
- ใบงานโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนสำรวจจำนวนนักเรียนชั้นม.1
ม.2 และม.3 แยกตามชาย - หญิง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“จากข้อมูลที่นักเรียนได้
อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิงเป็นเท่าใดและเขียนอย่างไร”?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น
และออกแบบวิธีคิดลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ครูซื้อปากกา4 ด้าม ราคา 28 บาท อัตราส่วนของจำนวนปากกาเป็นด้ามต่อราคาของปากกาหนึ่งด้ามเป็นเท่าไร”?
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและออกแบบวิธีคิดลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- นักเรียนแต่ละคนสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนประยุกต์ของตนเอง
พร้อมทั้งนำเสนอกระบวนการคิดของตนเอง
- นักเรียนแลกเปลี่ยนโจทย์กับเพื่อนแล้วทำตามความเข้าใจของตนเอง
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอโจทย์และกระบวนการคิดของตนเองต่อเพื่อนและครู
- ครูใช้คำถามกระตุ้น
“นักเรียนคิดว่า
เราสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร”?
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
- ครูแจกใบงานโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนให้กับนักเรียนทุกคนเพื่อทบทวนความเข้าใจ
- นักเรียนแต่ละคนร่วมกันทำใบงาน
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
- แสดงความคิดเห็นและออกแบบวิธีคิดจากโจทย์ลงในสมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนของตนเอง
พร้อมทั้งนำเสนอกระบวนการคิดของตนเอง
- ใบงานโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
|
ความรู้
- การเปรียบเทียบอัตราส่วน
- วัฒนธรรมการเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องที่เรียนรู้และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะ
- การแสดงความคิดเห็นในมุมมองของตนเองต่อส่วนรวม
- การเลือกใช้เครื่องมือคิดที่เหมาะสมและการออกแบบวิธีคิดจากสื่อต่างๆ)
- เป็นนักคิด
นักวางแผนการเรียนรู้ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและการออกแบบ
2.ทักษะการแก้ปัญหา
วิเคราะห์โจทย์และการแก้ไขโจทย์ปัญหา
3. ทักษะ ICT เกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลและการจัดกระทำข้อมูล
- การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ - การเชื่องโยงกระบวนการเรียนรู้ มาปรับใช้จริงกับชีวิต - มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย - มีความมุ่งมั่นในการทำงาน - การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |